เกือบตลอดประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ไม่มั่นใจว่าทำไมหัวใจของเราจึงเต้น หรือว่าหน้าที่ของมันคืออะไร ในที่สุด เราก็รู้ว่าอวัยวะที่เต้นตุบๆ นี้ทำให้ที่สำคัญในการสูบฉีดเลือดสะอาดไปทั่วร่างกาย แต่อย่างไรล่ะ.
หัวใจ เป็นอวัยวะกล้ามเนื้อซึ่งสูบเลือดทั่วหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยการหดตัวเป็นจังหวะซ้ำ ๆ พบในสัตว์ทุกชนิดที่มีระบบไหลเวียน ซึ่งรวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย หัวใจจะถูกแบ่งออกเป็นสี่ห้อง (heart chambers) และทิศทางการไหลของเลือดเข้าสู่แต่ละห้องจะถูกควบคุมโดย ลิ้นหัวใจ(cardiac valves) ทำให้เลือดไม่ไหลย้อนเมื่อมีการบีบตัวและคลายตัว ในที่นี้จะกล่าวถึงห้องของหัวใจตามลำดับของการไหลของเลือดภายในหัวใจ
หน้าที่หลักของหัวใจคือการสูบฉีดเลือดผ่านระบบไหลเวียนเพื่อไปเลี้ยงร่างกายทั้งร่าง การไหลเวียนนี้แบ่งออกเป็นการไหลเวียนเลี้ยงกายที่ส่งเลือดไปเลี้ยงร่างกายและรับเลือดที่ใช้แล้วกลับ และการไหลเวียนผ่านปอด ซึ่งส่งเลือดไปฟอกที่ปอดและรับเลือดกลับจากปอดมาหัวใจเพื่อเตรียมสูบฉีดต่อไปยังร่างกาย ขณะที่เลือดไหลเวียนผ่านปอดจะมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ รับเอาออกซิเจนเข้ามาในเลือด และส่งคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปยังปอดผ่านการหายใจ หลังจากนั้นระบบไหลเวียนกายจะส่งเลือดแดงที่มีออกซิเจนมากไปยังร่างกาย และรับเลือดดำที่มีคาร์บอนไดออกไซด์มากและมีออกซิเจนน้อยกลับมายังปอด
คุณสมบัติประการหนึ่งที่น่าสนใจของหัวใจ คือการที่กล้ามเนื้อหัวใจสามารถกระตุ้นการทำงานได้ด้วยตัวเอง โดยอาศัยระบบนำไฟฟ้า (conduction system) ภายในผนังของหัวใจ โครงสร้างที่สำคัญของระบบนำไฟฟ้าของหัวใจ
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร
หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างไร